ระบบสารสนเทศดิจิทัล (Digital)
เพื่อประเมินการบริหารงานระบบ Safety care
ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์

แบบประเมิน ระบบสารสนเทศดิจิทัล (Digital) เพื่อประเมินการบริหารงานระบบ Safety care


ข้อมูลผู้ตอบแบบประเมิน

องค์ประกอบที่ 1 ระบบการดูแลช่วยเหลือความปลอดภัยของนักเรียน

ข้อความ ผลการประเมิน
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. มีแผนพัฒนาคุณภาพระบบความปลอดภัยของสถานศึกษามีโครงสร้างชัดเจน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
2. ผู้บริหารให้ครูดูแลนักเรียนที่มีโรคประจำตัวอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
3. มีการพัฒนาคุณภาพระบบดูแลความปลอดภัยนักเรียนให้มีความเข้มแข็งขึ้น มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
4. เมื่อนักเรียนเจ็บป่วยหรือมีภาวะที่จะส่งผลอันตรายต่อสุขภาพนักเรียนให้งานอนามัยโรงเรียนดำเนินการนำส่งสถานพยาบาลพร้อมรายงานเหตุต่อผู้บริหารทราบทันทีและแจ้งประสานงานผู้ปกครองให้ทราบต่อไป มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
5. สถานศึกษามีการซักซ้อมแผนภัยพิบัติในสถานศึกษา เช่น เหตุเพลิงไหม้ภายในสถานศึกษา เหตุแผ่นดินไหว เหตุอุทกภัย เหตุวาตภัย เป็นต้น มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
6. ผู้บริหารหรือผู้ได้รับมอบหมายต้องจัดให้มีมาตรการป้องกัน ตรวจสอบและควบคุมการใช้วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่เป็นอันตรายและสามารถนำมาใช้เป็นอุปกรณ์หรือสิ่งเทียมอาวุธในการก่อเหตุทำร้ายร่างกายนักเรียนหรือบุคลากร มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
7. มีการสำรวจและซ่อมบำรุงระบบป้องกัน ระบบแจ้งเตือน ระบบอาณัติสัญญาณเตือนภัยเป็นประจำสม่ำเสมอและพร้อมใช้งาน เช่น สัญญาณเสียงเตือนภัย ทางหนีไฟหรือประตูหนีไฟ เครื่องตรวจจับความร้อน ระบบสำรอง ไฟฉายฉุกเฉิน ถังดับเพลิง เป็นต้น ทั้งนี้ให้เหมาะสมกับประเภทความพิการและบริบทของสถานศึกษา ระบบป้องกันไฟฟ้ารั่ว ระบบสายดิน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
8. ต้องขจัดมุมอับและจุดเสี่ยงที่เป็นอันตรายต่อนักเรียน เช่น สายไฟฟ้าแรงต่ำ ไฟฟ้าส่องสว่างให้เพียงพอ อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารเรียนและอาคารประกอบ พื้นที่อันตรายในเขตก่อสร้าง สระน้ำ บ่อน้ำ คูคลอง รางระบายน้ำ อาคารที่ชำรุด บริเวณพื้นที่รกร้าง เป็นต้น มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
9. ผู้บริหารหรือผู้ได้รับมอบหมาย กำกับ ติดตาม กำชับให้ครูผู้สอนดูแลนักเรียนในช่วงเวลาการจัดการเรียนการสอน และช่วงเวลาการจัดกิจกรรมประจำวันในโรงเรียนประจำอย่างเคร่งครัด มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
10. สถานศึกษาต้องจัดเวรประจำวันยามรักษาการณ์ผู้ตรวจเวร ให้มีความเหมาะสมกับการดูแลนักเรียนแต่ละประเภทสถานศึกษาในวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
11. ผู้บริหารหรือผู้ได้รับมอบหมาย กำกับ ติดตาม นิเทศ และตรวจสอบการปฏิบัติงานของเวรประจำวัน ยามรักษาการณ์ ผู้ตรวจเวร ทั้งเวลากลางวันและเวลากลางคืนอย่างใกล้ชิดและสม่ำเสมอ และรายงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
12. สถานศึกษามีกระบวนการส่งต่อนักเรียนระหว่างเวรประจำวันและครูประจำหอนอนให้ชัดเจน มีการบันทึก รายงานเหตุการณ์ประจำวัน เหตุฉุกเฉินเฉพาะหน้า มีขั้นตอนที่ชัดเจน รวมถึงการสร้างเครือข่ายการสื่อสารความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกที่มีประสิทธิภาพ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
13. สถานศึกษามีการตรวจสอบคัดกรองบุคลากรภายนอกที่เข้าและออกสถานศึกษาตลอดเวลา เช่น ผู้มาติดต่อราชการ ผู้ปกครองนักเรียน หรือบุคลากรภายนอกอื่นๆ ที่จะเข้ามาภายในสถานศึกษาทุกกรณีอย่างเคร่งครัดทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
14. สถานศึกษาต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวกที่มีความเหมาะสมกับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เช่น ทางลาด ทางม้าลาย ราวจับ สัญญาณไฟจราจร ป้ายเตือน ป้ายสัญลักษณ์ ป้ายบอกทาง จัดบริเวณที่จอดรถให้มีความปลอดภัยต่อนักเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
15. มีการตัดแต่งกิ่งไม้ ต้นไม้ ในบริเวณใกล้อาคารต่างๆ เพื่อความปลอดภัยของนักเรียนและบุคลากร มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
16. สถานศึกษาต้องมีจุดบริการรับส่งนักเรียน มีจุดรวมพลตามมาตรการสถานศึกษาปลอดภัย มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
17. สถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้สอดรับกับภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติที่อาจจะเกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ เช่น อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย แผ่นดินไหว ธรณีพิบัติ ภัยคุกคามจากสัตว์ป่า เป็นต้น มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
18. สถานศึกษาจัดให้มีครูที่ปรึกษา ครูแนะแนว ครูจิตวิทยา ที่สามารถแนะแนวและให้คำปรึกษาในการดำรงชีวิตประจำวันของนักเรียน รวมถึงการปรับพฤติกรรม ที่เหมาะสมกับศักยภาพของนักเรียนรายบุคคล มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
19. สถานศึกษาจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังให้นักเรียนห่างไกลยาเสพติด รู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด โดยการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้เกิดแก่นักเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
20. ครูปลุกจิตสำนึกและให้ความรู้ในการป้องกันตัวเองและการเอาตัวรอดจากภัยคุกคามทุกรูปแบบ เช่น การล้อเลียนและการกลั่นแกล้งกันในชั้นเรียนหรือในหอนอน การเคารพสิทธิส่วนบุคคลของเพื่อนนักเรียนด้วยกันเอง รวมถึงภายในรูปแบบต่างๆ (สอดแทรกเข้าไปในบทเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน) มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
21. ครูให้ความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียนรู้จักใช้ประโยชน์จากโซเชียลมีเดียอย่างถูกต้องและรู้จักการป้องกันภัยจากโซเชียลเน็ตเวิร์ค มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
22. สถานศึกษาควรจัดให้มีครูอนามัยโรงเรียน อยู่ประจำเรือนพยาบาลตลอดช่วงเวลากลางวันและกลางคืน เพื่อการดูแลนักเรียน ประจำอย่างใกล้ชิด มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
23. สถานศึกษาจัดให้มีการควบคุม การใช้ การจ่ายยาสามัญประจำบ้าน ยาประจำตัวนักเรียน รวมถึงยาที่มีการควบคุมเป็นกรณีพิเศษ อย่างเคร่งครัดและรัดกุมเพียงพอ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
24. สถานศึกษาจัดให้มีการส่งต่อนักเรียนที่เจ็บป่วยหรือประสบเหตุฉุกเฉินให้ถึงสถานพยาบาลอย่างทันท่วงทีและปลอดภัย เช่น มีรถรับ-ส่งและพนักงานขับรถที่พร้อมปฏิบัติงาน การประสานงานและส่งต่อกับสถานพยาบาลใกล้เคียง เป็นต้น มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
25. สถานศึกษาจัดให้มีการรายงานเหตุการณ์ เหตุฉุกเฉิน เหตุภัยพิบัติ อย่างรวดเร็วและเป็นระบบ ถึงผู้มีอำนาจสั่งการเพื่อรับทราบและแก้ไขสถานการณ์ผ่านระบบ MOE Safety Center หรือระบบรายงานเหตุของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
26. สถานศึกษาจัดให้มีแผนเผชิญเหตุด้านความปลอดภัยและมีการซักซ้อมแผนเผชิญเหตุ ทั้งในระดับห้องปฏิบัติการและภาคสนามอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
27. สถานศึกษาส่งเสริมให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสิทธิเด็ก การคุ้มครองเด็กและเยาวชน การบริหารความปลอดภัยภายในองค์กร ให้แก่บุคลากรของสถานศึกษาทุกคนและสามารถนำไปปฏิบัติ ได้อย่างถูกต้อง มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
28. สถานศึกษากำกับ ติดตาม และประเมินผล พร้อมทั้งซักซ้อมความเข้าใจในการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยให้แก่บุคลากรของสถานศึกษาทุกคน ให้มีความสามารถในการแก้ไขสถานการณ์เบื้องต้นและมีทักษะที่ถูกต้องในการเผชิญเหตุเฉพาะหน้าได้ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
29. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู พนักงานราชการ และบุคลากรทุกคน มีความตระหนักและมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการคุ้มครองเด็กและเยาวชน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
30. การบริหารความปลอดภัย ภายในองค์กรอย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกัน การกระทำผิดวินัย การกระทำผิดกฎหมาย การกระทำโดยประมาทหรือการกระทำละเมิด มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด

องค์ประกอบที่ 2 การบริหารระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ข้อความ ผลการประเมิน
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ในวงจรเดมมิ่ง (PDCA) มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
2. การดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามกระบวนการ 5 ขั้นตอนคือรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล การคัดกรองนักเรียน การป้องกันและแก้ไข การส่งเสริมและพัฒนา และการส่งต่อ ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพอย่างเป็นองค์รวม มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
3. การรู้ข้อมูลที่จำเป็น นักเรียน เป็นรายบุคคล เป็นสิ่งสำคัญ ที่จะช่วยให้ครูอาจารย์มีความเข้าใจนักเรียนมากขึ้น มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
4. การนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อคัดกรอง นักเรียนจะเป็นประโยชน์ในการเพื่อส่งเสริมและพัฒนา และป้องกัน แก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุด มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
5. มีวิธีการและเครื่องมือที่ชัดเจน มีมาตรฐาน มีคุณภาพ มีหลักฐาน และมีการวิจัยพัฒนา มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
6. การคัดกรองนักเรียน ต้องใช้วิธีการที่เหมาะสม ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ตรงกับการแก้ปัญหา และความต้องการจำเป็นด้วยความรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
7. ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรงเรียนควรจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาของนักเรียนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
8. ผู้บริหารโรงเรียนต้องตระหนักถึงความสำคัญของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้การส่งเสริมและพัฒนานักเรียนอย่างต่อเนื่อง มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
9. การให้บริการช่วยเหลือนักเรียนจำเป็นต้องมีการแนะแนวในโรงเรียนและครูทุกคนสามารถเป็นครูแนะแนวได้ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
10. สิ่งที่จำเป็นที่ต้องอบรมให้กับครูคือ ทักษะการให้คำปรึกษาเบื้องต้นและประสานความสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
11. ควรมีการชี้แจงผู้ปกครองให้ทราบถึงเหตุผลที่แท้จริงของการส่งต่อนักเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
12. ผู้บริหารสถานศึกษาควรวางแผนพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้มีประสิทธิภาพโดยการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้รับบริการ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
13. การป้องกันและแก้ไขปัญหานักเรียนที่เกี่ยวข้องควรได้รับการฝึกอบรมแนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันและแก้ปัญหานักเรียนอย่างถูกต้อง มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด

องค์ประกอบที่ 3 การสนับสนุนระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน

ข้อความ ผลการประเมิน
5 คะแนน 4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
1. ปัจจัยการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนคือ ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา การทำงานเป็นทีมและการนิเทศติดตามและประเมินผล มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
2. สร้างภาคีเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของนักเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
3. การสื่อสารร่วมมือระหว่างกลุ่มย่อยอย่างต่อเนื่อง มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
4. การประสานความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียนกับตำรวจ สำนักงานควบคุมความประพฤติ ศาลเยาวชนและครอบครัว สำนักงานสาธารณสุขในพื้นที่ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
5. การส่งเสริมให้ผู้ปกครอง ชุมชนช่วยกันเฝ้าระวังและดูแลช่วยเหลือนักเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
6. ผู้บริหารสนับสนุนความรู้ ในการออกแบบเครื่องมือเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้กับครู เพื่อลดปัญหา ช่วยเหลือหรือจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมต่างๆ ของนักเรียนได้ถูกต้อง มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
7. ผู้บริหารประสานงานความร่วมมือระหว่างบุคลากรของโรงเรียนและสร้างเครือข่ายสนับสนุนการทำกิจกรรมกับบุคลากรภายนอก มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
8. ผู้บริหารเสริมสร้างบรรยากาศของโรงเรียนให้เอื้อการเรียนรู้ เกิดการสร้างสรรค์พฤติกรรมที่เหมาะสม มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
9. บุคลากรร่วมแรงร่วมใจกันทำงานและบริหารงานงบประมาณอย่างคุ้มค่ามีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
10. การบริหารงานแนะแนวและให้คำปรึกษาภายในโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
11. กระบวนการบริหารงานโรงเรียนในภาพรวมอย่างมีคุณภาพและคุณภาพของบุคลากร มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
12. การทำงานแบบบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด
13. การใช้โปรแกรมระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สามารถพัฒนาวิสัยทัศน์ในอนาคตของนักเรียนได้ พัฒนางานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง ต่ำ ต่ำที่สุด

ย้อนกลับ